บทที่ 6

ดาวฤกษ์

       วิวัฒนาการและจุดจบของดาวกฤษ์แต่ละดวงขึ้นอยู่กับมวลของดาวกฤษ์ ดาวกฤษ์ที่มีมวน้อย ใช้เชื้อเพลิงในอัตราน้อย มีชีวิตยืนยาวมีจุดจบเป็นดาวแคระขาว  ดาวกฤษ์ที่มีมวลมาก มีความสว่างมาก ใช้เชื้อเพลิงในอัตราสูง มีชีวิตสั้น หลังจากดาวยักษ์แดงจะระเบิด เรียกว่า ซุปเปอร์โนวา  ถ้ามวลมากๆเป็นหลุมดำ มวลมาก เป็นดาวนิวตรอน


        ดวงอาทิตย์เป็นดาวกฤษ์มวลน้อย พลังงานในดวงอาทิตย์ได้มาจากปฏิกิริยา เทอร์โมนิวเคลียร์  เมื่อใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนหมดแกนกลางจะยุบตัวเกิดการเผาผลาญฮีเลียม แล้วขยายขนาดใหญ่เป็นดาวยักษ์แดง และดาวแคระห์ขาว


ดาวยักษ์แดง

    อันดับควาสว่างต่างกัน n สว่างต่างกัน 2.5ยกกำลังnเท่า ความสว่างจากน้อยไปมาก ดาวซีรีอัส ดาวศุกร์เมื่อสว่างที่สุด ดวงจันทร์เมื่อสว่างที่สุด

   สีของดาวฤกษ์จะสัมพันธ์กับอุณหภูมิที่ผิว และอายุของดาว สี หรืออุณหภูมิพื้นผิว ดาวสีน้ำเงินจะมีอุณหภูมิสูง อายุน้อย ดาวสีส้มแดง จะมีอุณหภูมิต่ำ อายุมาก

 ตารางความสว่างของดาว

        1 หน่วยดาราศาสตร์(A.U.)มึค่าเท่ากับระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงโลก หรือ150ล้าน กิโลเมตร 1ปีแสง คือระยะทางที่แสงเดินทางใช้เวลา 1ปี หรือ 63072 A.U. 1ปาร์เสค(Parsec) ระยะทางจากโลกถึงดาวที่มีมุมพาราแลกซ์เท่ากับ 1ฟิลิปดา คิดเป็นระยะทาง 206265 A.U. หรือ 3.27ปีแสง




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น